ปีการศึกษา |
แพทย์ประจำบ้านต่อยอด |
โครงการวิจัย |
2552 |
พญ. ขวัญฤทัย ศรีพวาทกุล |
ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้ารักษาซ้ำโรงพยาบาลของผู้ป่วยเอสแอลอี (SLE) ของหน่วยโรคข้อและภูมิแพ้ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ |
|
นพ. สิทธิ์ หงษ์ทรงเกียรติ |
การศึกษาผลของยารักษาวัณโรคต่อระดับกรดยูริก |
|
พญ. พรเพ็ญ อัครวัชรางกูร |
ความชุกของภาวะหมดระดูก่อนกำหนดในผู้ป่วยโรคลูปุสที่มีอาการกำเริบของอวัยวะสำคัญและได้รับการรักษาด้วยยากดภูมิต้านทานในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ |
2553 |
นพ. พีระวัฒน์ บุนยตีรณะ |
ความน่าเชื่อถือของแบบ สอบถามสุขภาพในหลายมิติฉบับประยุกต์ภาษาไทยในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
|
นพ. รัตตะพล ภัคโชตานนท์ |
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับวิตามินดีในเลือดกับระดับความรุนแรงของโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ในโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า |
|
พญ. โชติมา ศรศิริวงศ์ |
Asymptomatic radiographic joint abnormalities in Thai psoriasis patients ; Two years follow |
2554 |
พญ. บุษกร ดาราวรรณกุล |
การศึกษาปัจจัยที่พยากรณ์การเข้าสู่ภาวะโรคสงบของโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ |
|
พญ. สรวงกนก เผ่าทรง |
ระดับโปรแคลซิโตนินในซีรั่มในโรคข้ออักเสบเฉียบพลันที่เกิดจากการติดเชื้อและข้ออักเสบที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ |
|
นพ. พนมกร หล้าคำ |
ภาวะข้อผิดปกติในผู้ป่วยลูปัสในโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ |
|
นพ. ประพันธ์ บูรณบุรีเดช |
ผลการรักษาผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ หลังให้การรักษาเต็มที่ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรคในโรงพยาบาลรามาธิบดี |
|
พญ. สริดา เลาหพันธุ์สวัสดิ์ |
การทดสอบ Interferon Gamma Release Assays ที่ไม่สามารถแปลผลได้ในผู้ป่วยรูมาตอยด์ |
2555 |
พญ. อัมพร ปิติภากร |
บทบาทของ Angiotension-converting enzyme (ACE) gene polymorphism ในผู้ป่วย systemic lupus erythematosus ในประเทศไทย |
2557 |
พญ. ศมนันท์ อินทองคำ |
การศึกษาการตอบสนองของระดับภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่ได้ยาปรับเปลี่ยนการดำเนินโรคและ/หรือยากลุ่มสารชีวภาพ |
|
พญ. วิมล จังสมบัติศิริ |
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อองค์ประกอบของร่างกายและการไร้ความ สามารถในผู้ป่วยโรคหนังแข็ง |
|
พญ. ภาวินี เหลืองรุ่งโรจน์ |
การประเมินโอกาสโรคกำเริบหลังลดยาปรับเปลี่ยนการดำเนินโรคในผู้ป่วยข้ออักเสบรูมาตอยด์ระยะโรคสงบด้วยการตรวจข้อโดยคลื่นเสียงความถี่สูง |
|
พญ. นราวดี โฆษิตเภสัช |
ความแตกต่างของผลบวกแอนตินิวคลิโอโซมแอนติบอดีระหว่างผู้ป่วยที่มีการกำเริบกับผู้ป่วยที่ไม่มีการกำเริบของโรคลูปุส |
|
พญ. วิยะนุช โลมะรัตน์ |
การศึกษาแบบสุ่มมีกลุ่มเปรียบเทียบแบบปิดสองทางเพื่อประเมินประสิทธิภาพของวิตามินดีในผู้ป่วยโรคลูปัส |
|
นพ. พงษ์จิรัษฏ์ ตันตยาคม |
ความสัมพันธ์ของความรุนแรงของโรคกับภาวะอ้วนลงพุงในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ชาวไทย |
|
พญ. ฐิติรัตน์ ภูริหิรัณย์ |
ลักษณะทางคลินิกของโรคข้ออักเสบเฉียบพลันจากผลึกเกลือโมโนโซเดียมยูเรทและแคลเซียมไพโรฟอสเฟตไดไฮเดรทในโรงพยาบาลศิริราช |
|
พญ. ชนจันทร์ เพชรรัตน์ |
ความชุกของกลุ่มอาการอ้วนลงพุงในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบสะเก็ดเงินและโรคข้อกระดูกสันหลังอักเสบติดยึดในโรงพยาบาลศิริราช |
|
พญ. พัชรวรรณ สืบมี |
ความสัมพันธ์ระหว่าง glomerular filtration rate ที่วัดโดยวิธี isotopic renal scan เปรียบเทียบกับค่า glomerular filtration rate ที่ได้จากสูตรคำนวณในผู้ป่วยโรคหนังแข็ง |
|
นพ. กิตติกร ดวงกำ |
การประเมินความรุนแรงของการตึงแข็งที่ผิวหนังด้วยตนเองในผู้ป่วยโรคหนังแข็ง |
|
พญ. วรกานต์ ทิพย์สิงห์ |
ความชุกของการเกิดการเคลื่อนของกระดูกสันหลังส่วนคอลำดับที่ 1 และ 2 ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ของคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช |
|
นพ. กานน จตุวรพฤกษ์ |
การศึกษาความไวและความจำเพาะของเกณฑ์การวินิจฉัยโรคเกาต์ในผู้ป่วยชาวไทย |
|
พญ. พรทิพย์ อินทร์พิบูลย์ |
ระบาดวิทยาปัจจัยเสี่ยงและอัตรารอดชีวิตของผู้ป่วยโรคลูปัสที่มีการติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือดโดยไม่พบต้นเหตุการติดเชื้อในร่างกาย |
|
พญ. สิริรักษ์ สิทธิวุฒิวรพันธ์ |
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสซีเอ็มวีในผู้ป่วยโรคเอสแอลอี |
2558 |
พญ. ญาดา ศิริพันธ์โนน |
ผลของการล้างไตทางหน้าท้องในการรักษาภาวะ renal crisis ในโรคหนังแข็ง |
|
พญ. นีรชา สุรภากุล |
ระดับเอสทีทูในผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน โรคข้ออักเสบสะเก็ดเงิน และอาสาสมัครสุขภาพดี |
|
พญ. ปียฉัตร คงเมือง |
อุปสรรคต่อการรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ให้ได้ตามเป้าหมาย : การศึกษาวิจัยสังเกตที่ศูนย์โรคข้อและรูมาติสซั่มแห่งหนึ่งในประเทศไทย |
2559 |
พญ. รัตนภา เผื่อนอุดม |
ความสัมพันธ์ระหว่างความเสี่ยงของการเกิดกระดูกหักใน 10 ปี คำนวณโดยแฟรกซ์กับความรุนแรงของโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ |
|
พญ. วิภาดา ไกรเกรียงศรี |
อัลตร้าซาวด์ต่อมน้ำลายในกลุ่มอาการโจเกรน |
Leave a Reply